พระผง อยากรู้เรื่องพระ หรือ เกจิอาจารย์ดังๆ ท่านก็สามารถใช้บริการเราได้

พระผง

พระผง รวบรวมเหล่าพระดังๆ ที่หายากมาไว้ที่นี่ พระผงเนื้อดิน

พระผง พระผงสุพรรณ(กรุ)วัดพระศรีรัตนมหาธาตุจังหวัดสุพรรณบุรี พระผงสุพรรณ เป็นพระเครื่องเก่าแก่ ที่ถูกค้นพบอยู่ในกรุของ องค์พระปรางค์องค์ใหญ่เมื่อปีพ.ศ.2456 ที่ตั้งอยู่ภายในวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ที่ตั้งอยู่ภายในจังหวัดสุพรรณบุรี มีลักษณะเนื้อเป็นดินเผาละเอียด โดยเนื้อพระจะปราศจากเม็ดแร่ อีกทั้งมีหลายสีเช่น สีแดง สีเขียว สีดำ และสีผงธูป โดยพระผงสุพรรณ ที่นิยมกันอยู่ในวงการพระเครื่อง มีอยู่ด้วยกันทั้งสิ้น 3

พิมพ์คือ พระผงสุพรรณ พิมพ์หน้าแก่ พระผงสุพรรณ พิมพ์หน้ากลาง พระผงสุพรรณ พิมพ์หน้าหนุ่ม พระผง ที่กรุของพระปรางค์องค์ใหญ่ ในจังหวัดสุพรรณ ที่สร้างขึ้นเมื่อปีพ.ศ.1890 โดยสมเด็จพระบรมราชาธิบดีที่ 1 ที่มีความเลื่อมใสทางพระพุทธศาสนา ได้จัดสร้างขึ้นดังนั้นโดยทั่วไปแล้ว พระผงสุพรรณ จึงเท่ากับว่าเป็นพระเครื่องสกุลสูง เพราะเป็นพระชั้นกษัตริย์ประจำของเมืองสุพรรณบุรี สำหรับการเปิดกรุในปีพ.ศ.2456 พระผงพุทธคุณสูง

เพราะพระปรางค์องค์ใหญ่นั้น ถูกโจรกรรมและลักลอบขุดพระกันมาก จนท่านเจ้าเมืองสุพรรณบุรีในขณะนั้นทราบเข้า จึงได้มีคำสั่งให้ทำการเปิดกรุพระปรางค์องค์ใหญ่ ที่อยู่ภายในวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ และได้พบกับพระเครื่องมากมายหลายพิมพ์ อีกทั้งยังมีพระทองคำก็มีให้พบ และยังพบกับแผ่นลานทอง แผ่นลานเงิน โดยท่านพระยาสุนทรบุรี ซึ่งในขณะนั้นดำรงตำแหน่งเป็น เจ้าเมืองสุพรรณได้มีการออกคำสั่ง ให้ทำการเปิดกรุ

พระผง วัดพระศรีรัตนมหาธาตุจังหวัดสุพรรณบุรี พระผงรุ่นใดดังสุด ? พระผงทุกรุ่น

และทำหลักฐานไว้ทำให้คนรุ่นหลังได้ทราบ ว่ากรุพระที่ถูกขุดพบนั้นมีลักษณะ เป็นอย่างไรบ้างในใบบันทึก โดยที่เห็นชัดที่สุดคือ พระพุทธลักษณะที่มองเห็นบบชัดเจนที่สุดคือ เป็นพระสี่เหลี่ยมที่มีรูปทรงชะลูด และมองดูแล้วเหมือนเป็นองค์ 3 เหลี่ยม ปลายบางองค์จะถูกตัดปลาย และบางครั้งอาจจะมองแล้วดูเหม 5 เหลี่ยม องค์พระจะเป็นท่านั่งปางมารวิชัย ที่มีการประทับบนฐานชั้นเดียว แต่พระพักตร์ของพระในแต่ละรุ่นจะแตกต่างกันออกไป

พระผง

ที่เหมือนกันนั้นคือ ด้านหลังของพระนั้นจะมีรอยนิ้วมืออยู่ด้วย ซึ่งลายนิ้วมือนั้นมักจะเป็นในรูปแบบ ที่เรียกกันว่า “ตัดหวาย” และทุกองค์เป็นศิลปะแบบสมัยอู่ทอง พระเครื่องที่อยู่ในชุดเบญจภาคีนั้น เป็นที่นิยมอย่างมากของกลุ่มนักสะสมพระเครื่อง โดยมีอยู่ 2 ลักษณะด้วยกันคือ เนื้อดิน และ เนื้อชินเงิน ที่เป็นที่นิยมนั้นเรียกว่า ‘พระผงสุพรรณยอดโถ’ จะมีลักษณะเป็นเนื้อดินเผา และสาเหตุที่เรียกกันว่า “พระผงสุพรรณ” จากสาเหตุที่พบในการจารึกการสร้าง

ที่มีอยู่ในลานทอง โดยถูกสร้างขึ้นจากผงว่านเกสรดอกไม้ โดยพระผงสุพรรณนั้น ขึ้นชื่อในเรื่องของ พุทธานุภาพด้านแคล้วคลาด มหาลาภ เมตตามหานิยม และอำนาจบารมี เป็นมงคลแก่ผู้สักการบูชา พระผงสุพรรณพิมพ์หน้าแก่ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ สุพรรณบุรี การดูพระผงสุพรรณ “หน้าแก่” ให้สังเกตุเรื่องลักษระอยู่

พระผง ที่กรุของพระปรางค์องค์ใหญ่ ในจังหวัดสุพรรณ สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ .อะไร ? พระผงสีเหลี่ยม

‘พระพักตร์’ เนื่องจากสังเกตุได้ว่า พระพักรค์ของพระนั้น จะมีรูปร่างที่เหี่ยวย่นที่ดูแล้ว เห็นเหมือนคนแก่นั่นเอง สำหรับจุดตำหนิที่เห็นง่ายๆ ของพรผงสุพรรณ “หน้าแก่” นั้นคือ ผิวของเนื้อผงจะมีลักษณะเป็น เม็ดผดคล้ายผิวของมะระ และเป็นคลื่นเป็นตะปุ่มตะป่ำที่ไม่เสมอกัน โดยลักษระที่เห็นคือเกิดจากการหดตัวของพระเนื้อดิน ที่จะเกิดขึ้นเป็นไปตามธรรมชาติ โดยจุดที่ต้องสังเกตุของ พระผงสุพรรณหน้าแก่มีอยู่ 9 จุดที่สังเกตุคือ พระเนื้อผงหายาก

ให้สังเกตุใบหูที่จะเห็นชัดเจน ว่าเป็นร่องลึกเหมือนร่องหูคน (หูกาง) หางพระเนตร ที่อยู่ด้านซ้ายของพระ จะมองได้ชัดเจนว่าตวัดขึ้นสูง กว่าทางขวา สำหรับจุดที่เป็น พระนาสิก (จมูก) จะเป็นร่องลึกทั้ง 2 ด้าน ทำให้มองเห็นเหมือน พระโอษฐ์ (ปาก) ยกยิ้มแย้มขึ้นนั่นเอง จากใบหน้า จนถึงจุดที่ช่วงบ่า หรือหัวไหล่ จะมีการเรียงตัวกัน ของผดเม็ดคล้ายเม็ดข้าวสาร ตรงอก ที่ใกล้กับรักแร้ จะเห็ร่องลึก เหมือสามเหลี่ยมชัดเจน ช่วงกลางพระอุระ (ร่องอก)

ที่จะมองเห็นคล้ายหัวช้าง ช่วงใต้ฐานอก ใกล้ข้อศอก จะมองเห็นเม็ดผดขึ้น เรียงรายกันอยู่ พระหัตถ์ (มือ) ที่แบอยู่ และปลายนิ้วมือ จะตรงอยู่ที่ช่วงของรักแร้ โดยปลายนิ้วจะไม่ชนพระกรณ์ (ข้อมือ) ข้อพระกรณ์ (ข้อมือ) เว้าลึก บริเวิณที่เว้าจะเห็น ระดับตรงกับปลายนิ้วมือที่แบอยู่ พระผงสุพรรณพิมพ์หน้าหนุ่ม วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ สุพรรณบุรี เรื่องของพระผงสุพรรณหน้าหนุ่มนั้น จะมีลักษณะและเอกลักษณ์ ที่เป็นพิเศษคือที่ ‘พระพักตร์’

ที่มาของพระผงเกิดขึ้นได้อย่างไร ? พระผงสุพรรณ

เป็นใบหน้าที่มองเห็นแล้วอ่อนเยาว์ และดูใบหน้าอิ่บเอิ่บสดใส ที่แลดูอ่อนเยาว์สดใสและใบหน้าจะเรียวเล็กกว่า พระผงสุพรรณ์พิมพ์หน้าอื่นชัดเจน คือ เรียวเล็กกว่า โดยในสมัยโบราณการสร้างพระเครื่อง พิมพ์แบบนี้ที่หน้าเล็กนี้จะถูกเรียกว่า “พิมพ์หน้าหนู” เนื่องจากจะมองเห็นองค์พระ ที่มีความคมลึก และชัดเจนมากเป็นพิเศษ อีกทั้งพิมพ์พระหน้าหนุ่มนี้ มักจะมีองค์พระหนากว่าพิมพ์อื่น สำหรับพระผงสุพรรณ์หน้าหนุ่มนี้ พระผงยอดนิยม

พระผง

จะมองเห็นเลยว่าสีและลักษณะที่แตกต่าง จากพระผงสุพรรณของพิมพ์อื่น ถ้ามองเผินๆ เนื่องจากวิธีการเผา ได้ความร้อนที่ไม่เท่ากันนั่นเอง เพราะเนื้อดินเผาเกิดเรื่องของ การหดัวไม่เท่ากันนั่นเอง ทำให้ขนาดสีสัน และการตัดขอบพระ ก็แตกต่างอีกด้วย เนื่องจากสภาพการใช้ เรียกได้ว่ายังสามารถส่งผลต่อการพิจารณา การสังเกตุพระผงสุพรรณอีกด้วย ส่วนจุดสังเหตุของพระผลสุพรรณพิมพ์หน้าหนุ่มนี้มีจุดสังเกตมากในตำหนิสำคัญถึงจำนวน 8 จุด

ดังนี้ ปลายเนตรที่อยู่ด้านซ้าย จะต้องยกสูงขึ้นสักเล็กน้อย พระนาสิก (จมูก) มีลักษณะที่โด่งขึ้นเป็นสันจมูกชัดเจน ริมพระโอษฐ (ริมฝีปาก) ที่มองเห็นเลยว่าหนา ติ่งพระกรรณ (ติ่งหู) ที่เห็นชัดเจนแต่แนบติดใกล้ พระพักตร์ (ใบหน้า) ให้สังเกตุที่พระอังสะ (บ่า) ว่าจะเห็นติ่งพระกรรณ (ติ่งหู) มาอยู่ใกล้อีกด้วย กลางพระอุระ (กลางอก) จะมีภาพที่เกิดขึ้น มองเห็นแล้วคล้ายกับหัวช้าง ข้อพระกรณ์ (ข้อมือ) ที่มีลักษณะเว้าลึก มองเห็นได้

เรามีกูรูคอยแนะนำ เกี่ยวกับคำถามที่พบบ่อยในเซียนพระ พระผงยอดนิยม

ปลายนิ้วของพระหัตถ์ ที่ยื่นแบออกไป โดยที่ปลายนิ้วไม่ชนกับข้อพระกรณ์ (ข้อมือ) พระผงสุพรรณพิมพ์หน้ากลาง วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ สุพรรณบุรี จากเรื่องราวของเอกลักษณ์ ที่มักจะมองเห็นได้เฉพาะนั้นอยู่ที่ ‘พระพักตร์’ ที่ดูแล้วอิ่มเอิบและสดใสมาก อีกทั้งไม่เหี่ยวย่น แบบคนที่ไม่สูงวัย โดยจะมีจุดที่สามารถมองเห็นได้ เพื่อแสดงคุณลักษณะของ พระผงสุพรรณ์ “หน้ากลาง” ที่มีจุดที่มองเห็นชัดเจนอยู่ 8 จุดสำคัญดังนี้  พระผงราคาแพง

ให้สังเกตุบริเวณของ ปลายพระเนตรที่อยู่ข้างซ้ายองค์พระเครื่อง ที่มีตวัดเฉียงขึ้นสูงเล็กน้อย ปลายพระกรรณข้างขวา (ติ่งหูขวา) ที่มีปลายงองุ้มเข้าด้านในเล็กน้อย ปลายพระกรรณข้างซ้าย (ติ่งหูซ้าย) ที่มีปลายแตกออก มองเห็นเป็นแซงแซว ให้สังเกตุปลายติ่งพระกรรณทั้ง 2 ข้างมีความยาวที่เสมอกัน

กลางพระอุระ (กลางอก) ที่มีลักษณะคล้ายหัวช้าง ปลายพระหัตถ์ (นิ้วมือ) ที่แบอยู่มีความยาวถึงพระกรณ์ (ข้อมือ) ส่วนของข้อพระกรณ์ (ข้อมือ) มีลักษณะเว้าลึก ช่วงของขาขวา ที่ขัดสมาธิทับขาซ้านนั้น ช่วงของพระหัตถ์ขวา ที่จับขาขวาอยู่นั้น จะมองเห็นเนื้อเกินขึ้น จากโคนนิ้วขึ้ด้านบนชัดเจน นับได้ว่าพระผงสุพรรณ์นั้น เป็นพระเครื่องที่ล้ำค่ามากที่สุดอีกรุ่นหนึ่ง ที่ได้ถูกขุดจากกรุขึ้นมา ตามคำสั่งของ ท่านเจ้าเมืองสุพรรณบุรีในปีพ.ศ.2456

ซึ่งเป็นช่วงของท่านพระยาสุนทรบุรี เป็นผู้ที่ดำรงตำแหน่งอยู่ในช่วงสมัยนั้นนั่นเอง เพื่อเป็นการหลีกเลี่ยงไม่ให้ คนเข้าโจรกรรมลักลอบขุดพระนั่นเอง