พระเก่าแก่ พระหายาก ที่มีอายุมากกว่าพันปีเลยทีเดียว
พระเก่าแก่ ที่กำลังเป็นที่เรียกเสียงเกิดขึ้นนั้น มีอายุมากกว่า 1500 ปีเลยทีเดียว ซึ่งถือได้ว่า เป็นพระที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย ที่ถูกค้นพบ กันจากจังหวัดมหาสารคาม โดยเจ้าของที่ดินมีชื่อว่า นายทองดีเป็นผู้ค้นพบ ซึ่งเป็นพื้นที่ที่ดินทำกินส่วนบุคคล โดยในพื้นที่นั้น มีพระกรุเสียส่วนใหญ่ ที่มีขึ้นมาตั้งแต่สมัยโบราณกาล
โดยยุคแรกๆที่เกิดขึ้นนั้น เป็น พระเก่าโบราณ เนื้อดิน ที่จะสามารถพบได้ในกรุเก่าแก่นั่นเอง สำหรับพื้นที่ดั้งเดิม ของพระกรุนาดูนนั้น มีความเชื่อกันว่า ถูกสร้างขึ้นในช่วงของ สมัยมวารวดี เมืองนครจัมปาศรี
ซึ่งเป็นเมืองเก่าโบราณ ที่มีพื้นที่เป็นรูปไข่ โดยมีกำแพงเมืองที่ถูกสร้างจากเชิงเทินดินสูงขึ้นถึง 3 เมตร และกว้างมากกว่า 6 เมตร สำหรับกรุพระธาตุภายในพื้นที่ของ นครเมืองจำปาศรี มีการพบเจดีย์มากกว่า 25 องค์ด้วยกัน พร้อมทั้งยังพบเครื่องสังคโลก และโบราณวัตถุมากมาย โดยเริ่มมีการขุดพบเริ่มมาตั้งแต่ พศ.2511 จนเป็นที่พบกรุพระนาดูนมากในช่วงของปี พ.ศ.2522
ซึ่งเป็นการขุดพบในพื้นที่ทำกินของ นายทองดี ปะวะภูตา ซึ่งเป็นพื้นที่ทำกินส่วนบุคคล ก่อนที่จะพบเครื่องโบราณวัตถุ สำริด และ พระพุทธรูปเก่าแก่ พิมพ์ดินเผามากมายกว่า 12 กระสอบปุ๋ย
ก่อนที่จะถูกประชาชน พื้นที่ใกล้เคียงบุกรุกเข้าพื้นที่ และขุดหาของโบราณและพระกรุอีก 6 กระสอบข้าวสาร ซึ่งเป็นการเข้าลักลอบ ขุดพระพิมพ์ดินเผา จำนวนมากด้วยกัน ซึ่งเป็นพนะพิมพ์ ที่สร้างขึ้นจากหินทราย เรียกว่าปางนาคปรก ซึ่งมีขนาดใหญ่โดยฐานนั้นกว้างถึง 50 เซนติเมตร และสูงถึง 70 เซนติเมตร ที่มีขนาดเพียงครึ่งองค์เท่านั้น
พระเก่าแก่ พระกรุนาดูน พระที่มีอายุสูงถึง 1,500 ปีเลยทีเดียว
พระแผงปฎิหารย์ ซึ่งอยู่พื้นที่อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม ในปัจจุบัน และเป็นพระกรุที่คาดว่า ถูกสร้างขึ้นช่วง ศตวรรษที่ 12-16 เป็นพระที่เรียกได้ว่ามีอายุเก่าแก่มากที่สุด ของประเทศไทย ซึ่งเป็นองค์ พระเครื่อง เก่า แก่ ที่สุดในไทย ที่สร้างขึ้นในยุคสมัยของทราวดี ซึ่งต้องยอมรับว่า ศิลปะของสมัยทราวดีนั้น มีการสร้างขึ้นมามากมาย
หากแต่ว่าศิลปะที่ได้รับการยอมรับมากที่สุดนั้นคือ พระกรุนาดูน ซึ่งเป็น พระเก่าหายาก หรือจะเรียกได้ว่าเป็นพระพิมพ์ ที่มีอายุเก่าแก่มากที่สุด พระมีอายุมากกว่า 1,500 ปี เลยทีเดียว
โดยเป็นอวค์พระที่ทำมาจากเนื้อดิน ที่มีคราบหินปูนเกาะอยู่กับเนื้อดิน ด้วยองค์พระนั้น ถูกสร้างขึ้นจากพระพิมพ์ดินเผา ที่มีลวดลายลีลานั้นเรียกได้ว่า อ่อนช้อยสวยงามอย่างมาก สำหรับพระกรุนาดูน จะถูกแบ่งออกเป็น พระกรุที่ถูกแบ่งตามรูปลักษณ์ ของพระกรุนาดูน มากมายหลากหลาย ที่จะสามารถแบ่งแยกได้ดังต่อไปนี้คือ
พระกรุนาดูน พระนาคปรกพิมพ์ใหญ่ และ พระกรุนาดูน ปางนาคปรกคู่
มีลักษณะที่เรียกว่า ตัดเดี่ยว เช่นเดียวกับ พระกรุนาดูน ปางเสด็จดาวดึงส์ และ พระกรุนาดูน ปางประทานพร จะมีการสร้างขึ้น เป็นในรูปแบบเนื้อมะขามเปียก ที่มีขนาดใหญ่ เท่ากับฝ่ามือ พระกรุนาดูน พระนาคปรกจิ๋ว และ พระกรุนาดูน ปางปฐมเทศนา หรือพระปางนั่งเมือง เป็นพระกรุนาดูน ที่เป็นที่นิยม ในกลุ่มผู้บูชาอย่างมาก พระเครื่องเก่าแก่
เนื่องจากเชื่อว่า คนที่มีไว้ในการบูชา จะเป้นผู้มีอำนาจ วาสนาดั่งผู้เป็นเจ้าบ้าน เจ้าเมือง ผู้ที่มีอำนาจวาสนานั่นเอง และยังพบได้กับ พระกรุนาดูนอีกมากมาย หลากหลายไม่ว่าจะเป็น พระกรุนาดูน ปางยมก ปาฎิหารย์ ,พระกรุนาดูน ปางลีลา (ตริภังค์), พระกรุนาดูน ปางสมาธิ พิมพ์กัณทรวิชัย ,พระกรุนาดู พระแผง 15 องค์ ,พระกรุนาดูน ปางซุ้มโพธิ์ นั่งบัลลังค์ และ พระกรุนาดูน ปางสมาธิเพชร
ซึ่งพระกรุนาดูนทั้งหมดนั้น จะเป็นพระพิมพ์ดินเผา ที่มีอายุนานกว่า 1,500 ปี และมีอยู่จำนวนมากมายมหาศาล ด้วยรูปแบบของพระพิมพ์กรุนาดูน จะมีลักษณะพิเศษ วัดที่เก่าแก่ที่สุดในโลก ในเรื่องของ การบอกเล่าเรื่องราว ที่มีความสัมพันธุ์กับเรื่องราว ของคติความเชื่อในพระพุทธศาสนา อีกทั้งยังมีเรื่องของ ขนบธรรมเนียม
อีกทั้งเรื่องของวัฒนธรรม ในเรื่องของศิลปะกรรมพื้นเมือง ของแต่ละยุค แต่ละสมัยอีกด้วย โดยในประเทศไทยนั้น ถือได้ว่าเป็นการสร้างพระพิมพ์ที่มีมานาน มากมายทุกยุคทุกสมัยเลยก็ว่าได้
โดยการจัดสร้างพระพิมพ์ ในสมัยของทราวดีนั้น นับได้ว่าเป็นการจัดสร้างพระพิมพ์ที่มีอายุมากที่สุด และเก่าแก่ที่สุดของประเทศไทยในขณะนี้ โดยมีการขุดคุ้นพบมาก่อน วัดที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย ในภาคกลางที่โด่งดังนั้นคือ ในพื้นที่ของจังวัดนครปฐม ซึ่งเป็นกระพิมพ์ที่มีอายุอยู่ในช่วงสมัย ของเมืองทราวดีเช่นเดียวกัน
และยังสามารถพบได้อีกพื้นที่ของ อำเภอกันทรวิชัย ของจังหวัดมหาสาคามอีกด้วย เนื่องจากในสมัยโบราณนั้น การสร้างพระพิมพ์ดินเผาขึ้นมาเพื่อใช้ ในการสืบทอดพระพุทธศาสนา และเป็นพระพุทธบูชา โดยมักจะมีการจัดสร้างเป็นกรุ พระสถูปเจดีย์อีกด้วย โดยจุดประวงค์เพื่อเป็นเครื่องระลึกถึง พระบรมศาสดา พระสัมมาสัมพุทธเจ้านั่นเอง
พระเก่าแก่ การจัดแบ่งพระพิมพ์กรุนาดูน แบ่งได้เป็น 4 ประเภท
สำหรับการจัดแบ่งพระพิมพ์กรุนาดูนนั้น จะมีการแบ่งแยกไปตามความสัมพันธุ์ของพระสถูปเจดีย์ ที่จะมีการจัดแบ่งออกเป็น 4 ประเภทคือ
1.พระธาตุเจดีย์ (พระสารีริกะ) ซึ่งจะเป็นสถูปเจดีย์ที่มีการบรรจุ พระสารีริกธาตุ ชิ้นส่วนหลังจากที่มีการถวายพระเพลิง ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้วนั้น ซึ่งภายในสถูปนั้นจะมี ภาชนะที่บรรจุใส่ พระสารีริกธาตุไว้ด้วย
2.บริโภคเจดีย์ (บริโภคะ) ที่จะมีการแบ่งออกย่ยออีก 2 แบบด้วยกันคือ
2.1สังเวชนียสถาน 4 ตำบล ซึ่งประกอบไปด้วย
2.1.1สถานที่ประสูติ (สวนลุมพินี เมืองกบิลพัสดุ์
2.1.2สถานที่ตรัสรู้พระโพธิญาน (พุทธคยา เมืองคยา)
2.1.3สถานที่แสดงปฐมเทศนา (เมืองพาราณสี)
2.1.4สถานที่ดับขันธ์ปรินิพพาน (ตำบลสาวิน เมืองดุสินารา)
2.2สถานที่ที่มีการแสดงปฎิหาร์ยทั้ง 4 แห่งคือ
2.2.1สถานที่ลงจากดาวดึงส์เทวโลก
2.2.2สถานที่แสดงยมก ปาฎิหาร์ย
2.2.3สถานที่ทรงโปรดช้าง นาคคีรี และพญาวานร ถวายรวงผึ้ง
2.2.4สถานที่ประดิษฐ์สถานพุทธบริขารทั้ง 10 แห่ง
3.ธรรมเจดีย์ ซึ่งเป็นในส่วน ของพระธรรมคำสั่งสอน ของ พระที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย เช่นจารึกทั้งหลาย ไม่ว่าจะเป็น จารึกคำคาถา พระคาถา ในการแสดงพระอาริยสัจ พระไตรปฎก รวามถึงพระพิมพ์ ที่มีการจารึก
4.อุเทสิกขเจดีย์ หมายถึงสถานที่ หรือสิ่งที่สร้าสงขึ้น ที่มีเจตนาเพื่อให้เป็นพื้นที่ ที่จะมีเพื่อเป็นสักการะ และเจนตนารำลึกถึงพระพุทธเจ้า เช้าน พระพุทธรูป พระพุทธบาท ธรรมจักร พระพิมพ์ต่างๆ เป็นต้นนั่นเอง
การค้นพบพระพิมพ์ของพระธาตุนาดูน
ซึ่งการค้นพบพระพิมพ์ของพระธาตุนาดูนนั้น ยังพบพระพิมพ์ที่ด้สนหลัง มีการบันทึกข้อความ เป็นคำบุญอธิฐานของผู้สร้าง ซึ่งเป็นสัษลักษณ์ของยุคสมัย วัดที่เก่าแก่ที่สุดในอยุธยา ที่มีการสร้างพระพิมพ์ขึ้น นับได้ว่าเป็นการสร้างเพื่อจุดประสงค์ในการ พยายามที่จะสืบสานวัฒนธรรม และความเชื่อทางพระพุทธศาสนา
อีกทั้งสำหรับเรื่องราว ความเชื่อของชาวบ้านพื้นที่ของ ชาวบ้านนาดูน ต่างเชื่อถือพระธาตุนาดูนอย่างมาก อีกทั้งบริเวณของกรุนาดูน นอกจากที่จะขุดกรุนาดูน พบพระเก่าแก่จำนวนมากแล้ว
ยังพบกับพระบรมสารีริกธาตุ ที่เชื่อกันว่ามีคสามศักดิ์สิทธ์มาก ก่อนทางกรมศิลปากร ได้เข้าควบคุมพื้นที่ และขุดขึ้นมาพร้อมกับ จัดตั้งงบประมาณ เพื่อทำการสร้าง สถูปเจดีย์เพื่อทำการ บรรจุพระบรมสารีริกธาต ไว้ให้ประชาชนได้มาเคราพ สักการะบูชากันต่อไป ซึ่งเป็นอีกสถานที่ ที่ได้รับความเคราพนับถืออย่างมาก ของประชาชนคนพื้นเมือง รวมทั้งประชาชนชาวไทยทั่วประเทศ